ธีรยุทธ บุษบงค์
๑. คิดเรื่อง : เลือกใดหนามาคิดเขียนเรื่องสั้น
๑.๑. เลือกตัดทอนท่อนชีวิตที่ผูกพัน
๑.๒. เลือกเก็บเกร็ดชีวารอบๆ ตัวที่ประทับใจ
๑.๓ เลือกหยิบแว้บความคิดที่เกิดขณะอ่านเรื่องของคนอื่น
๒. สร้างอารมณ์ : กระตุ้นอารมณ์ตนวิธีใดให้อยากเขียนเรื่องสั้นสักเรื่อง
๒.๑ อ่านเรื่องสั้นของนักเขียนเอก
๒.๒ ดูหนัง ฟังเพลง
๒.๓ ตั้งใจฟังเรื่องเล่าของคนอื่น
๒.๔ เดินทาง ท่องเที่ยว
๒.๕ ท่องไอจี มีความรัก
๒.๖ อ่านเฟช อ่านข่าว
๒.๗ เขียนบทกวีเพื่อนำมาขยายเป็นเรื่องสั้น
๓. ลงมือเขียน : เริ่มเขียนเรื่องสั้นเมื่อใดดี
๓.๑ อยากเล่าอะไร เล่าไปก่อน และจงเขียนเล่าจนจบ
๓.๒ อยากเล่าส่วนใดของเรื่องก่อนก็เล่าเลย ค่อยนำมาจัดลำดับทีหลัง
๓.๓ เขียนทิ้งไว้สักเวลาหนึ่ง
๓.๔ เมื่อคิดถึงมันค่อยหยิบมาอ่านทบทวนความคิดอ่าน
๓.๕ ค่อยๆ แก้ไข/พัฒนา/ขัดเกลาภาษา/ตัดต่อ/แต่งเติม/ปรับปรุง/เปลี่ยนแปลงให้เรื่องราวตรงกับใจเรามากที่สุด
๔. จัดทำต้นฉบับ : จะจัดทำต้นฉบับสำหรับเผยแพร่เรื่องสั้นสักเรื่องอย่างไร
๔.๑ พิมพ์เรื่องสั้นที่เขียนจบแล้วมาอ่านอีกรอบและหาข้อบกพร่อง
๔.๒ พิมพ์ส่งให้ผู้รู้ช่วยอ่านเพื่อขอรับคำแนะนำ
๔.๓ นำข้อบกพร่องและคำแนะนำมาพิจารณาว่าจะแก้ไขอย่างไรให้เรื่องสั้นเราดีที่สุด
๔.๔ แก้ไขเรื่องสั้นให้สมบูรณ์โดยพิจารณาองค์ประกอบต่างๆให้เหมาะสมกลมกลืนกัน
๔.๕ พิสูจน์อักษร สำนวน ประโยค วรรคตอน ย่อหน้า สัญลักษณ์การลำดับเรื่องให้ถูกต้องตามราชบัณฑิตยสถานและตามเจตนาสื่อสาร
๔.๖ จัดพิมพ์เรื่องสั้น ใช้ฟร้อนต์มาตรฐาน ขนาดพอยท์ 16 ตั้งแต่ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง ตัวเรื่อง รายละเอียดเกี่ยวกับผู้แต่ง (ชื่อ-สกุลจริง ที่อยู่ทางไปรษณีย์ อีเมล์ เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อกลับได้ (และเลขบัญชีธนาคารที่สามารถโอนเงินเข้าได้ ในกรณีชนะการประกวดหรือผ่านการพิจารณาตีพิมพ์))
๔.๗ พิจารณาส่งผลงานไปเผยแพร่ในสนาม/เวที/สำนักพิมพ์ ที่มีแนวคิดการคัดสรรเรื่องสั้นสอดคล้องเหมาะสมกับเรื่องสั้นของเรา.
———————————————
แนะนำเพจในเฟชบุ๊ค : ชายคาเรื่องสั้น
ทางหอมบุ๊คเฮ้าส์
ร้านหนังสือฟิลาเดลเฟีย
“ความสุขทุกนาทีที่ได้คิดเขียน คือ ยอดรางวัลของนักประพันธ์”
๓.๒ อยากเล่าส่วนใดของเรื่องก่อนก็เล่าเลย ค่อยนำมาจัดลำดับทีหลัง
๓.๓ เขียนทิ้งไว้สักเวลาหนึ่ง
๓.๔ เมื่อคิดถึงมันค่อยหยิบมาอ่านทบทวนความคิดอ่าน
๓.๕ ค่อยๆ แก้ไข/พัฒนา/ขัดเกลาภาษา/ตัดต่อ/แต่งเติม/ปรับปรุง/เปลี่ยนแปลงให้เรื่องราวตรงกับใจเรามากที่สุด
๔. จัดทำต้นฉบับ : จะจัดทำต้นฉบับสำหรับเผยแพร่เรื่องสั้นสักเรื่องอย่างไร
๔.๑ พิมพ์เรื่องสั้นที่เขียนจบแล้วมาอ่านอีกรอบและหาข้อบกพร่อง
๔.๒ พิมพ์ส่งให้ผู้รู้ช่วยอ่านเพื่อขอรับคำแนะนำ
๔.๓ นำข้อบกพร่องและคำแนะนำมาพิจารณาว่าจะแก้ไขอย่างไรให้เรื่องสั้นเราดีที่สุด
๔.๔ แก้ไขเรื่องสั้นให้สมบูรณ์โดยพิจารณาองค์ประกอบต่างๆให้เหมาะสมกลมกลืนกัน
๔.๕ พิสูจน์อักษร สำนวน ประโยค วรรคตอน ย่อหน้า สัญลักษณ์การลำดับเรื่องให้ถูกต้องตามราชบัณฑิตยสถานและตามเจตนาสื่อสาร
๔.๖ จัดพิมพ์เรื่องสั้น ใช้ฟร้อนต์มาตรฐาน ขนาดพอยท์ 16 ตั้งแต่ชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง ตัวเรื่อง รายละเอียดเกี่ยวกับผู้แต่ง (ชื่อ-สกุลจริง ที่อยู่ทางไปรษณีย์ อีเมล์ เบอร์โทรศัพท์ที่ติดต่อกลับได้ (และเลขบัญชีธนาคารที่สามารถโอนเงินเข้าได้ ในกรณีชนะการประกวดหรือผ่านการพิจารณาตีพิมพ์))
๔.๗ พิจารณาส่งผลงานไปเผยแพร่ในสนาม/เวที/สำนักพิมพ์ ที่มีแนวคิดการคัดสรรเรื่องสั้นสอดคล้องเหมาะสมกับเรื่องสั้นของเรา.
———————————————
แนะนำเพจในเฟชบุ๊ค : ชายคาเรื่องสั้น
ทางหอมบุ๊คเฮ้าส์
ร้านหนังสือฟิลาเดลเฟีย
“ความสุขทุกนาทีที่ได้คิดเขียน คือ ยอดรางวัลของนักประพันธ์”